Hand-Movement Meditation

How to practice hand-movement meditation

When we practice mindfulness, we have to do very often. The more we practice, the more our mind will be with the present moment easily and quickly. And the sooner our mind is in the present moment, the better it is relaxed and comfortable.

There are 2 ways to bring the mind to the present moment;

1. Concentration (samatha) meditaion

The new practitioners always try to force the mind to be in the present moment. When they are unaware of it, the mind tends to wander again.
SO the practitioners have to put more effort to settle the wandering mind. All the new ones have to pass concentration (samatha) level. The degree of concentration they have depends upon how they recognize the benefits of true concentration.

2. insight (vipassana) Meditation

This method is the way that the mind creates wisdom or knower which tries to bring the mind to be as it is by using mindfulness to create consciousness and wisdom. We have to understand why the mind has to be in the present moment, and also have to train the mind to familiar with the knower without control.

The way to be in the present moment is like a hunter deceives the wild animals to be in the trap he sets. There are 2 ways;

1. We catch the wild animals and raise them in the cage and tame them. But when they are outside the cage, they always run away.
2. We don’t need to catch the animals but we keep feeding the wild animals like in the west where people fed the wild birds near their house. They just put out food for birds in the garden or the backyard and the birds come to eat every day.
The insight meditation is like the second one, we don’t need to control or force the mind. But we have to train our mind to be in the present moment by creating the knower which is calm, relaxed, and comfortable without any thinking as the food . Then mindfulness arises.

การปฏิบัติวิปัสสนาแบบเคลื่อนไหวคือการทำอย่างไร?

การสั่งสมตัวรู้เท่าทัน ให้เพิ่มกำลังความเร็วขึ้นเรื่อยๆ พอตัวรู้ถูกสั่งสมมากขึ้นเท่าใด ก็หมายความว่า จิตจะกลับมาอยู่กับปัจจุบันได้ง่ายและรวดเร็ว มากขึ้นเท่านั้น จิตนี้ ยิ่งกลับมาอยู่กับปัจจุบันได้เร็วเท่าใด จิตจะมีความผ่อนคลาย สบาย ปลอดโปร่ง
การทำจิตให้อยู่กับปัจจุบันมีสองลักษณะคือ
1.ลักษณะที่เป็นสมถะ คือผู้ปฏิบัติใหม่ส่วนมาก จะพยายามใช้สติไปบังคับให้จิตมาอยู่ปัจจุบัน แต่พอเผลอปั๊บ จิตก็ออกไปคิดเลย
ดังนั้น ผู้ทำสมถะ จึงต้องทำความเพียรหนักเอาไว้ก่อน เพื่อทำให้จิตที่ยังดิ้นรนกวัดแก่วงอยู่ ได้สงบระงับบ้างในบางคราว ผู้ปฏิบัติใหม่ทุกคนจำเป็นต้องผ่านสมถะก่อนเสมอ ส่วนใครจะมากจะน้อย ก็ขึ้นอยู่กับว่า คนนั้นจะ เกิดปัญญาเข้าใจความสงบที่แท้จริงได้เมื่อไร
2. วิธีฝึกจิตแบบวิปัสสนา
โดยวิธีทำให้จิตเกิดปัญญา หรือตัวรู้ เข้ามาตะล่อมให้จิต ตั้งอยู่โดยธรรมชาติของมันเอง โดยไม่ต้องใช้สติบังคับจิต แต่ใช้สติสร้างสัมปชัญญะและปัญญา สร้างความเข้าใจกับจิตเสมอๆ ว่า การที่จิตจะต้องกลับมาอยู่กับปัจจุบันเพื่ออะไร พยายามให้ตัวรู้อบรมจิตบ่อยๆเพื่อให้จิตคุ้นกับความรู้สึกตัว โดยไม่ต้องบังคับ เหมือนนายพรานล่อสัตว์ป่ามาอยู่ในสถานที่ๆตนต้องการ จะใช้สองวิธีคือ
(1) ใช้อุบายตามล่าจับสัตว์มาขังไว้ให้ได้ จะด้วยวิธีไดก็ตาม แล้วนำมาเลี้ยงไว้ให้คุ้น แต่พอเผลอปล่อยเมื่อไร แล้วมันจะหนีเข้าป่าทันที
(2) วิธีไม่ต้องไปตามล่า แต่ใช้เหยื่อที่มันชอบหว่านให้มันกินเรื่อยๆ แบบที่คนประเทศตะวันตก เขาสามารถล่อให้นกเข้ามาอยู่ใกล้บ้านได้มากที่สุด โดยไม่ต้องไล่จับมันเพียงแต่เอากล่องอาหาร และน้ำไปห้อยไว้ให้มันกิน มันก็พากันมากินได้ทุกวัน เหมือนเป็นการทำบุญ แต่คนไม่รู้วิธีนี้ ก็ตามล่านก เอาลูกนกมาขังไว้ก่อน จนกว่า สัตว์จะคุ้นโดยธรรมชาติ
ฉันใด วิธีการฝึกจิตของเราเหมือนกันฉันนั้น
การฝึกวิปัสสนา ไม่บังคับจิตให้มันรู้ แต่ฝึกตัวรู้ให้จิต เข้ามาอาศัยปัจจุบัน ด้วยการสร้าง ตัวรู้สึกที่สบายๆแบบไม่ต้องอาศัยการปรุงแต่งมาเป็นเหยื่อ แต่อาศัยตัวรู้สึกที่สงบ สงัด สบาย ผ่อนคลายมาเป็นอุบาย ไม่ต้องอาศัยความคิดเข้ามาเป็นอุบายล่อจิต
…………………………………………….

How to keep continuity of mindfulness

When we practice meditation, if we do not keep bringing the mind to the present moment, the mind will tend to wander and can’t be controlled.
เมื่อเจริญสติแล้ว แต่ไม่ขยันใช้สติเสมอๆ ก็จะเสียสติ
Sometimes the mind doesn’t feel comfortable itself even there is no form, no sound, no smell, and no taste from outside to contact the eyes, ears, nose, and tongue. Sometimes we sit in the right place and environment but the mind still feels uncomfortable.
มีบางครั้งบางคราว จิตจะรู้สึกไม่สบายในตัวของมันเอง ทั้งๆที่ไม่มีรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสภายนอก เข้ามากระทบทางอายะตะนะภายในเลย
บางครั้ง นั่งอยู่ในสถานที่และสภาพแวดล้อมภายนอกเอื้อทุกอย่าง แต่ใจก็ยังรู้สึกไม่สบาย
When this feeling happens, we have to be mindful and keep observing the uncomfortable feeling straightforwardly. That means we must observe it clearly and find out why it happens and what is the cause.
เมื่ออาการนี้เกิดขึ้น เราต้องตั้งสติสมาธิ ตามเข้าไปสังเกตความรู้สึกไม่สบายทางจิตแบบตรงๆคือไม่พยายามหลบเลี่ยงหรือกลบเกลื่อน ให้รู้ลงไปชัดๆว่า จิตมีอาการแบบนี้ เกิดขึ้น เพราะอาศัยเหตุปัจจัยอะไร
We must pay lots of attention to examine that feeling and keep watching. If we look at it deeply, we will find the cause which is because we stay with the comfort or relaxation too long and we enjoy it, then we feel sleepy and don’t want to change the posture. This we do meditation practice but we are not mindful or lose our minds.
เราก็ต้องตั้งใจตรวจสอบ เวทนาทางจิตให้ละเอียด ตามสังเกตไปนานๆ
ยิ่งเห็นละเอียดลึกลงไป
เราก็จะพบสาเหตุของมันว่า
เมื่อเราจมแช่อยู่กับความรู้สึกสบายนานๆ เราก็จะเพลินไปกับมัน แช่มันอยู่อย่างนั้น แช่จนง่วงแล้วง่วงอีก เราก็ไม่อยากปรับเปลี่ยนเคลื่อนไหวใดๆ นี่เรียกว่า “เจริญสติ แต่ไม่ใช้สติ มันก็เสียสติเท่านั้นเอง
The way to cope this is keep knowing the cause of that feeling until we can see the cause clearly, then we pay much attention while changing the posture and do it mindfully, then we can bring the mind to the present moment again.
วิธีแก้ ก็ให้ตามรู้เหตุของความรู้สึกไม่สบายนั้นๆ ให้เห็นเหตุเกิดความรู้สึก ไม่สบายให้ชัดๆ แล้วค่อยตั้งใจปรับเปลี่ยนเอาอิริยาบถนั้นๆออกไปอย่างมีสติสัมปชัญญะ จิตก็กลับมารู้ตามปกติอีกครั้ง
……………………………………………….

Self-knowing

Knowing means you are part of the thoughts but seeing means you are just watching the thoughts.
What is the difference between seeing Rupa-Nama(body – mind) and knowing Rupa-Nama? The ones who know the thoughts cannot manage the thoughts because they are still parts of the thoughts. They still have the feelings of wanting or dissatisfaction. When they are see something or doing something, they still have the feelings about what they are seeing or doing. But the ones who see the thoughts can deal with their thoughts. They can stop, skip and are not afraid of their thoughts. They can also continue to have the thoughts or remove them. Therefore seeing the thoughts and knowing the thoughts are different.

……………………………………………….

The Key Point

1. The Buddha nature in each person is like each fruit or each unhusked rice grain. When it is planted in the suitable place or under good conditions, it will grow up and bear flowers and fruits. It will grow fast or not is dependent on the potential of each grain.
2. Enlightenment is like flowers which depend on the sunlight. When the sun shines on the earth, the heat of the sun meets the cold air, then the weather is getting warm and makes the flowers bloom.
When Buddha mind or bodhicitta or ‘awakening mind’ is motivated at some level, it will be awake and this is called Buddha or “The Awakened One”(one who is awakened to Reality, who understands true nature of the mind, the world, and all sentient beings.). And anyone who practices meditation can reach this stage of the awakening.
พระพุทธยานันทภิกขุ (Direk Saksith)